การประชุมสัมมนา
ในภาพเป็นการบรรยาย ประชาสัมพันธ์ ของจังหวัดตาก
ที่ตั้ง ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ขนาดพื้นที่ 836.72 ไร่ ความเชื่อมโยงและลักษณะของพื้นที่ : ห่างจากทางหลวง AH1,EWEC
ประมาณ 7 กม.,ห่างจากสะพานมิตรภาพไทย - เมียนมาร์แห่งที่ 1 ประมาณ 8 กม. , ติดกับพื้นที่ก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย - เมียนมาร์ แห่งที่ 2 , ,มีถนนชุมชน ( เป็นถนนลูกรังและลาดยางบางส่วน
)เข้าถึงพื้นที่ , สภาพพื้นที่เป็นพื้ที่ลาดเนิน , ปัจจุบันใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่ออยู่อาศัย และ การเกษตร ได้แก่ ปลูกอ้อย , มันสำประหลัง และ ข้าวโพด , มีแหล่งน้ำ ติดกับแม่น้ำเมย , มีระบบไฟฟ้าเข้าถึงพื้นที่
- การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนและแก้ไขปัญหาความยากจน
- พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร
- การส่งเสริมการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และการค้าชายแดน
- การบริหารจัดการเพื่อป้องกันรักษาความมั่นคงบริเวณชายแดน และการรักษาความสงบเรียบร้อยที่มีประสิทธิภาพ
- เน้นการบริหารจัดการที่ดี และมีประสิทธิภาพ
- ประตูฝั่งตะวันตกของไทยบนแนวระเบียงเศรษฐกิจ EWEC
- เชื่อมตรงกับเขตเศรษฐกิจชายแดนเมียวดี สามารถเชื่อมต่อสู่ท่าเรือเมาะละแหม่งและกรุงย่างกุ้งของเมียนมา
- มีฐานการลงทุนเดิมในพื้นที่ แรงงานค่อนข้างพร้อม เหมาะกับอุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้น เช่น สิ่งทอ
- อุตสาหกรรมสินค้าเกษตรแปรรูปเฟอร์นิเจอร์
- การใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อจัดตั้งคลังสินค้าพื้นที่อุตสาหกรรมพื้นที่ศุลกากร
อัตราการเติบโตเฉลี่ยในช่วง 4 ปี
- การผลิตอุตสาหกรรม : -1.09%
- การเกษตรกรรม : 0.68%
- การก่อสร้าง : -0.71%
- การขายส่ง การขายปลีกฯ : 0.60%
- โรงแรมและภัตตาคาร : 3.22%
- การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม : 2.36%
- บริการอสังหาริมทรัพย์และการให้เช่า : 2.98%
- การบริการด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ : 1.16%
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดตาก (GPP) ปี พ.ศ. 2556 24,885 ล้านบาท
ภาคเกษตร : 16.18%
ภาคอุตสาหกรรม : 30.31%
ภาคการค้าและบริการ : 53.50%
- ผลิตผลเกษตรกรรม 70 โรงงาน มูลค่า 1,639.33 ล้านบาท
- เครื่องแต่งกาย ซึ่งไม่ใช่รองเท้า 138 โรงงาน มูลค่า 1,036.42 ล้านบาท
- ผลิตภัณฑ์อโลหะ 57 โรงงาน มูลค่า 1,016.52 ล้านบาท
- เมล็ดพืช หรือหัวพืช 89 โรงงาน มูลค่า 670.29 ล้านบาท
- ถักผ้า ผ้าลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มด้วยด้ายหรือเส้นใย 63 โรงงาน มูลค่า 473.84 ล้านบาท
แหล่งกระจายสินค้าและการบริการที่ทันสมัยและครบวงจร การอำนวยความสะดวกของกิจการที่ใช้แรงงานสูง เน้นการเพิ่มมูลค่าจากการแปรรูปสินค้าเกษตร การผลิตบรรจุภัณฑ์รวมทั้งอุตสาหกรรมเชิงสุขภาพ การพัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- สนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม และการผลิตเฟอร์นิเจอร์จากไม้
- การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตรจากการแปรรูป
- พัฒนาระบบโลจิสติกส์และระบบการกระจายสินค้าเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง
- ส่งเสริมกิจการเชิงสุขภาพและการท่องเที่ยว
- สนับสนุนระบบอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ด้านการอนุญาตแรงงาน
- ศูนย์บริการด้านต่างๆ ทั้ง การสนับสนุนฝึกอบรม การบริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (OSS)
- กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs ในพื้นที่
- กลุ่มผู้ประกอบการโรงงานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์แปรรูปสินค้าเกษตรในพื้นที่
- กลุ่มผู้ประกอบการสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
- กลุ่มผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์และคลังสินค้า
- กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs ที่เกี่ยวกับสินค้าอาหารเสริมหรือเครื่องสำอางค์
- กลุ่มผู้ประกอบการการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า
- กลุ่มผู้ผลิตอุปกรณ์บรรจุภัณฑ์แล้ะครื่องใช้จากพลาสติค
- กิจการผ้าทอและสิ่งทอ ที่ไม่ใช่ฟอกย้อม
- แปรรูปสินค้าเกษตรและการถนอมอาหาร
- ศูนย์กระจายสินค้า(DC)
- กลุ่มกิจการ ตรวจปล่อยสินค้า(ICD)
- การผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
- ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์หรือเครื่องใช้จากพลาสติค
- กิจการผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์ หรือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
- กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
- กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะหรือเครื่องจักร
- กิจการผลิตภัณฑ์เครื่องใช้จากไม้
- เขตตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ขนาดพื้นที่ 837.36 ไร่
- สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่เป็นที่รอนลาดมีระดับความสูงประมาณ 200 ม. จากระดับ
น้ำทะเลปานกลาง บริเวณพื้นที่โครงการด้านทิศตะวันตก ห่างจากชายแดนประเทศเมียนมา
ประมาณ 4 กม. และด้านทิศตะวันออก ห่างจากตัวอำเภอแม่สอด ประมาณ 5 กม.
- ชุมชนรอบพื้นที่โครงการ ชุมชนที่อยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการจะอยู่ด้านทิศใต้ของพื้นที่โครงซึ่งจะห่าง
ประมาณ 1 กม. ประกอบด้วย บ.วังตะเคียน บ.ปากห้วยแม่ปะ และ บ.ห้วยกระโหลก และด้านทิศ
ตะวันออกซึ่งจะห่างประมาณ 5 กม. ประกอบด้วย บ.สรรคสุข บ.สันทราย บ.ปากห้วยแม่แปะ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่โครงการส่วนใหญ่จะเป็นแปลงเกษตรกรรม ปลูกข้าวโพด ถั่ว อ้อย บาง
ส่วนเป็นที่รกร้าง บ้านเรือนประชาชนบางส่วน และมีบริเวณที่มีการขุดดินบางแห่ง และมีถนนตัด
ผ่านพื้นที่ 2 เส้นทางคือ ทางหลวงชนบท ตก.5052 และ ถนนเข้าโรงผสมคอนกรีตของ บ.โกลเด็นซิ
ตี้คอนกรีต อีกทั้งมีถนนที่กำลังก่อสร้าง 1 เส้นทาง คือถนนโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเมยแห่งที่ 2
แหล่งน้ำ แหล่งน้ำบริเวณประกอบด้วยห้วยโป่ง ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของห้วยแม่สอดอยู่ทางทิศ
ตะวันออก ห่างประมาณ 1 กม. และมีลำน้ำสาขาของห้วยแม่สอดตัดผ่านพื้นที่โครงการด้านทิศ
เหนือ ส่วนด้านทิศตะวันตกจะห่างจากแม่น้ำเมย ประมาณ 4 กม.
การเดินทางเข้าสู่พื้นที่โครงการสามารถแบ่งได้เป็น 2 ทิศทาง คือ
- จากด้านอำเภอแม่สอด
- จากด่านพรมแดนแม่สอด
- กลุ่มพื้นที่อาคารสำนักงาน กนอ. พื้นที่ One Stop Service และศูนย์เผยแพร่และ พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
- กลุ่มพื้นที่อุตสาหกรรม
- กลุ่มพื้นที่สถานีขนส่งและกระจายสินค้า
- กลุ่มพื้นที่พาณิชยกรรม (Public Services) เพื่อเป็นพื้นที่อำนวยความสะดวกและเพิ่ม คุณภาพชีวิต Community Center
- กลุ่มพื้นที่สีเขียว (Recreation Area) และแนวกันชนในลักษณะของพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ
- กลุ่มพื้นที่ระบบสาธารณูปโภคส่วนกลาง
จากชุดข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมสูงสุด ของสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน) หรือ GISTDA ช่วงปีข้อมูล 2548 ถึง 2557 พบว่าในปี 2556 มีขอบเขต
พื้นที่น้ำท่วมมากที่สุด ดังแสดงใน ลักษณะเป็นน้ำท่วมแผ่กว้างบนพื้นที่ราบและล้นตลิ่งห้วย
แม่สอด แม่น้ำเมย กระทบต่อโครงการบริเวณพื้นที่ราบด้านทิศตะวันออก ซึ่งมีอาณาบริเวณ
เพียงเล็กน้อย
พื้นที่รับน้ำของโครงการ พื้นที่รับน้ำฝน วาดขึ้นโดยพิจารณาระดับความสูงต่ำของพื้นที
ช่่องเปิดทางน้ำ เส้นลำน้ำ แนวถนนและทางรถไฟ ทำให้ได้พื้นที่รับน้ำของโครงการดังใน
แบ่งออกเป็นพื้นที่รับน้ำฝนภายในโครงการและภายนอกโครงการพื้นที่รับน้ำฝนภายใน
โครงการ มีขอบเขตตามพื้นที่นิคม แบ่งเป็นพื้นที่รับน้ำย่อยได้ 5 แปลงและพื้นที่รับน้ำ
ฝนภายนอกโครงการ เกิดจากการสร้างนิคมกีดขวางการไหลตามธรรมชาติของน้ำ
แบ่งได้ 2 แปลง ขนาดพื้นที่รับน้ำ ฝนรวม 1.89 ตารางกิโลเมตร แม่สอด แม่น้ำเมย
กระทบต่อโครงการบริเวณพื้นที่ราบด้านทิศ ตะวันออกซึ่งมีอาณาบริเวณเพียงเล็กน้อย
ความต้องการใช้น้ำประปา : 5,300 : ลบ.ม./วัน
ปริมาณน้ำเสีย : 4,000 : ลบ.ม./วัน
ปริมาณขยะ : 7,895 : กก/วัน
ทรัพยากรทางกายภาพ
- ผลกระทบด้านกายภาพ
- ผลกระทบทรัพยากรดิน
- ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ
- เสียงและความสั่นสะเทือน
คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
- การคมนาคมขนส่ง
- การใช้ประโยชน์ที่ดิน
- การระบายน้ำและป้องกันน้ำท่วม
- ระบบสาธารณูปโภค
คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต
- เศรษฐกิจ-สังคม
- อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
- ทัศนียภาพและการท่องเที่ยว
- การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว บริเวณตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ต้องจัดทำ EIA
- ตามประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบ
ปฏิบัติและแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนพิเศษ 97 ง วันที่ 20 มิถุนายน 2555
- ตามเอกสารท้ายประกาศ 3 ลำดับที่ 4 นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมทุกขนาด
วันอังคารที่ 19 มกราคม 2559 เวลา 13.30-16.00 น.ณ ห้องจอมพล โรงแรมเวียงตากริเวอร์ไซด์ อำเภอเมือง จังหวัดตาก
วันอังคารที่ 19 มกราคม 2559 เวลา 13.30-16.00 น.ณ ห้องจอมพล โรงแรมเวียงตากริเวอร์ไซด์ อำเภอเมือง จังหวัดตาก
- ทางหลวงชนบทที่เหลื่อมเข้าไปในพื้นที่นิคมฯการนิคมฯมีวิธีการดำเนินดารอย่างไร
- การจัดโซนพื้นที่การปฏิบัติงานของด่านศุลกากรไม่ควรด้วยกัน แนะนำให้ทำรั้วกั้นเปิดประตูทาง เข้า - ออกให้น้อยที่สุดเพื่อความสะดวกในการการควบคุมสินค้าเข้า – ออก ในเขตนิคมอุตสาหกรรม
- ระบบบำบัดน้ำเสียเป็นระบบบำบัดแบบใดปล่อยลงที่ไหน
- มีความกังวล ร่างผังนิคมฯ ส่วนที่เป็นโรงงานหรืออุตสาหกรรมยังไม่มีการระบุประเภทอุตสาหกรรมประเภทที่ชัดเจน
- เรื่องบำบัดน้ำเสียบริเวณจุดปล่อยและจุดพักน้ำเสียอยู่บริเวณใด
- โดยรอบพื้นที่นิคมฯมีประชาชนอยู่ทางการนิคมฯ มีรั้วล้อมรอบชัดเจนหรือไม่
- เมื่อมีนิคมฯเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ใดแก่ประชาชนโดยรอบ
- สถานีขนส่งสินค้าในแผนของการนิคมฯ ตั้งใจให้เป็นของรัฐหรือของเอกชน
- แนวทางการจัดการพื้นที่ของขนส่งอันเนื่องมาจากปัญหาการเช่าพื้นที่จากการนิคมฯ
- ทางการนิคมได้วิเคราะห์อุตสาหกรรมที่มาตั้งไหม เนื่องจากอีกฝั่งก็มีนิคมฯเช่นกัน
© 2015 thaisez.com All rights reserved | Design by W3layouts